ไม่ใช่เรื่องลอยๆ อีกต่อไปแล้วกับการแชทหาเพื่อนหรือจะหาใครเพื่อขอยืมเงิน เป็นข้อกฎหมายน่าสนใจที่ควรศึกษาไว้ไม่เสียหลาย
ขอบคุณเครดิตตามภาพ :
ไม่ใช่เรื่องลอยๆ อีกต่อไปแล้วกับการแชทหาเพื่อนหรือจะหาใครเพื่อขอยืมเงิน เป็นข้อกฎหมายน่าสนใจที่ควรศึกษาไว้ไม่เสียหลาย
ขอบคุณเครดิตตามภาพ :
ภาพ : สำนักข่าวเจ้าพระยา
ผู้ต้องขังทุกคนต้องสังกัดกองงาน ส่วนผู้ต้องขังพิการ, ผู้ต้องขังสูงอายุที่ทำงานไม่ไหว และผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจะสังกัด “กองกลาง” ซึ่งเป็นกองงานที่ไม่ต้องทำงาน ผู้ต้องขังทุกคนต้องทำงานตามกองงานที่เรือนจำกำหนด บางกองงานที่เป็นงานบริการ เช่น กองงานโรงเลี้ยง, กองงานเรือนนอน และกองงานโยธา กองงานเหล่านี้ไม่มีเกณฑ์กำหนดการทำงาน
ผู้ต้องขัง VIP-มีฐานะหลายคนสังกัดกองกลาง แม้พวกเขาจะไม่เข้าข่ายก็ตาม แต่ผู้ต้องขัง VIP-มีฐานะอีกหลายคนสังกัดกองงานที่ต้องทำงาน บางคนมีชื่ออยู่ในกองงาน แต่พวกเขาไม่ต้องทำงาน บางคนต้องทำงาน แต่งานของพวกเขาสามารถจ้างผู้ต้องขังรับจ้างทำงานแทนได้ Continue reading
ภาพ : สำนักข่าวเจ้าพระยา
การทำธุรกิจทุกอย่างย่อมมีความเสี่ยง การให้บริการเหล่านี้บ่อยครั้งที่ผู้ต้องขังที่ใช้บริการได้รับการประกันตัวภายใน 1-2 วัน ผู้ต้องขังเก่าจึงไม่สามารถเก็บเงินจากพวกเขาได้ เมื่อผู้ใช้บริการได้รับอิสระ บางคนเลือกที่จะมาที่เรือนจำเพื่อโอนเงินสด-ซื้อของฝากชดใช้ผู้ต้องขังเก่า บางคนหนีหาย โลกธุรกิจในเรือนจำแห่งนี้จึงไม่ต่างจากโลกภายนอก
นอกจากธุรกิจที่้เกี่ยวกับเสื้อผ้ายังมีธุรกิจที่คุณอาจไม่เคยเห็นมาก่อนในโลกภายนอก ผู้ต้องขังรับจ้างจึงเปรียบเสมือนแรงงานราคาถูกที่ผู้ต้องขัง VIP-มีฐานะใช้บริการเพื่อความสะดวก Continue reading
ภาพ : สำนักข่าวเจ้าพระยา
เนื่องจากผู้ต้องขังไม่สามารถใช้เงินสดจึงต้องใช้บัตรสมาร์ทการ์ดในการซื้อสินค้าจากร้านค้าของแดนเท่านั้น พวกเขาไม่สามารถใช้บัตรนี้โอนเงินสดจากบุ๊คหากันและกัน หรือซื้อสินค้าจากผู้ต้องขังด้วยกัน เงินสดที่ผู้ต้องขังใหม่นำมาจากโรงพัก-ศาลจะถูกฝากเข้าบุ๊คของแต่ละคน ผู้ต้องขังใหม่ต้องรอการทำบัตรสมาร์ทการ์ด 3-10 วัน บัตรสมาร์ทการ์ดของผมใช้เวลา 9 วัน
เงินสดที่ได้รับจากญาติ-เพื่อนของผู้ต้องขัง และเงินปันผลจากกองงานจะถูกโอนเข้าบุ๊คของแต่ละคน แต่เรือนจำมีการจำกัดการใช้เงินไม่เกินวันละ 300 บาทต่อ 1 คน วงเงิน 300 บาทอาจเพียงพอสำหรับผู้ต้องขังธรรมดา แต่สำคัญผู้ต้องขัง VIP-มีฐานะอาจไม่เพียงพอในบางวัน ผู้ต้องขังขาใหญ่ที่มีลูกน้องมากรายจ่ายในแต่ละวันสูงกว่านี้มาก ด้วยเหตุนี้บุหรี่จึงถูกใช้แทนเงินสดในเรือนจำแห่งนี้ บุหรี่ 1 ซองราคาขายจากร้านค้าของเรือนจำคือ 65 บาท (ปัจจุบันเป็น 67 บาท) แต่มีมูลค่า 50 บาทในเรือนจำแห่งนี้
ผู้ต้องขัง VIP-มีฐานะมักจะให้ญาติ-เพื่อนของพวกเขาซื้อบุหรี่เป็นของฝาก บางคนซื้อมากถึงครั้งละ 10 แถว (1 แถวมี 10 ซอง) เพื่อเก็บไว้ใช้จ่ายแทนเงินสด ตอนที่ผมยังอยู่ในเรือนจำแห่งนี้ ญาติ-เพื่อนสามารถฝากเงินสด-ซื้อของฝากไม่จำกัด แต่ตอนนี้เรือนจำกำหนดให้ผู้ต้องขังมีเงินสดในบุ๊คไม่เกิน 9,000 บาท รวมทั้งกำหนดให้รับของฝากไม่เกินวันละ 1,500 บาท Continue reading
สิ่งที่ต้องเตรียม :
– ไข่เป็ดดิบ 10 ฟอง
– ภาชนะสำหรับดองไข่ (ที่ไม่ทำปฏิกิริยากับเกลือ เช่น โหลแก้ว แก้วพลาสติก กะละมัง เครื่องเคลือบดินเผา)
– เกลือ 1 ถ้วย
– น้ำสำหรับต้มน้ำเกลือ 4 ถ้วย (หรือ 1 ลิตร)
วันที่: 11 มิ.ย. 59 เวลา: 19:15 น.
น.ส.อสมา เอื้อเมธีกุล ทีม Hygia Sanitation นิสิต MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า ทีม Hygia Sanitation ประกอบด้วย นายมิชิเทรุ คอนโดะ นายธนโชติ วงศ์สืบชาติ นายวิเวก มันตรี และตน ซึ่งมีนายนิกม์ พิศลยบุตร เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ได้คิดค้นนวัตกรรมช่วยในการบำบัดเชื้อโรคในน้ำเสีย ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ล่าสุด ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอไอที) โดยนวัตกรรมดังกล่าวมีลักษณะเป็นถังพลาสติก นำไปติดตั้งในบ่อเกรอะ สร้างระบบปิด โดยในถังพลาสติกจะประกอบไปด้วย ตัวฟิวเตอร์ ช่วยให้แบคทีเรียมาเกาะ ทำให้การบำบัดน้ำเสียดียิ่งขึ้น และมีส่วนประกอบของสื่อชีวภาพ และตัววาล์ว เพื่อช่วยกันน้ำจากข้างนอกไม่ให้ไหลเข้ามาในบ่อเกรอะ ขณะเดียวกันน้ำที่ไหลออกจากตัวถังจะไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ข้อดีของนวัตกรรมดังกล่าว ติดตั้งง่าย สะดวก ราคาถูก และบำบัดเชื้อโรคในน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากไม่กำจัดจะก่อให้เกิดการปนเปื้อนแหล่งน้ำ และผิวดิน ซึ่งจะซึมเข้าไปในแหล่งน้ำอุปโภคบริโภค ก่อให้เกิดโรคหลากหลายตามมา ซึ่งนวัตกรรม และแผนธุรกิจดังกล่าว ทำให้ทีม Hygia Sanitation ได้รับ 3 รางวัลในการแข่งขันแผนธุรกิจระดับโลก
“ขณะนี้ได้ร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข มีโครงการทดลองติดตั้งนวัตกรรมบำบัดเชื้อโรคในน้ำเสียให้ประชาชนในแถบภาคเหนือ และภาคอีสาน นอกจากนี้ ยังร่วมกับประชาคมห้วยขวาง ในโครงการพัฒนาชุมชนริมคลองห้วยขวางของกรุงเทพมหานคร 11,000 หลังคาเรือน โดยจะทดลองติดตั้ง 20 หลังคาเรือนก่อน เพื่อประเมินผลของการใช้งาน ถือเป็นโครงการนำร่องที่จะร่วมกับองค์กรต่างๆ นอกจากนี้ ยังได้นำเสนอนวัตกรรมดังกล่าวให้กับหน่วยงานของรัฐบาล เอกชน และหน่วยงานเอ็นจีโอ ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี” น.ส.อสมากล่าว
น.ส.อสมากล่าวต่อว่า ส่วนการเปิดตลาดในต่างประเทศ Hygia Sanitation ได้รับความสนใจจากนักลงทุนชาวอินเดียอย่างมาก ในการผลิต และจำหน่ายในอินเดีย มีราคาไม่แพง คาดว่าจะเปิดตลาดในประเทศกลางปีนี้ และขยายไปอินเดียในปีหน้า
เป็นข้อสังเกตที่น่าสนใจมาก ก่อนที่เราจะพัฒนาได้ เราย่อมต้องเรียนรู้และยอมรับข้อผิดพลาดที่แท้จริงของเราให้ได้ก่อน เพื่อนำไปใช้ประเมิณ เป็นบทเรียนเพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นต่อไปในอนาคต
ประธานองค์การส่งเสริมการค้าต่า
“จุดอ่อน” ของคนไทยไว้ 10 ข้อ คือ
1 . คนไทยรู้จักหน้าที่ของตัวเองต่ำ
2. การศึกษายังไม่ทันสมัย คนไทยจะเก่งแต่ภาษาของตัวเอง ทำให้ขาดโอกาสในการแข่งขันกับต่
3. มองอนาคตไม่เป็น คนไทยมากกว่า 70% ทำงานแบบไร้อนาคตทำแบบวันต่อวัน
4. ไม่จริงจังในความรับผิดชอบต่อหน
5. การกระจายความเจริญยังไม่เต็มที
6. การบังคับกฎหมายไม่เข้มแข็ง และดำเนินการไม่ต่อเนื่อง ทำงานแบบลูบหน้าปะจมูก ปราบปรามไม่จริงจัง การดำเนินการตามกฎหมายกับผู้มีอ
7. อิจฉาตาร้อน สังคมไทยไม่ค่อยเป็นสุภาพบุรุษ เลี้ยงเป็นศรีธนญชัย ยกย่องคนมีอำนาจ มีเงิน โดยไม่สนใจภูมิหลัง โดยเฉพาะคนที่ล้มบนฟูกแล้วไปเกา
8. เอ็นจีโอค้านลูกเดียว เอ็น จีโอ บางกลุ่มอิงอยู่กับผลประโยชน์ เอ็นจีโอดีๆก็มี แต่บ้านเรามีน้อย บ่อยครั้งที่ประเทศเราเสียโอกาส
9. ยังไม่พร้อมในเวทีโลก การสร้างความน่าเชื่อถือในเวทีก
10. เลี้ยงลูกไม่เป็น ปัจจุบัน เด็กไทยขาดความอดทน ไม่มีภูมิคุ้มกันเป็นขี้โรคทางจ
ไปเจอมาน่าสนใจมากๆ สำหรับการทำธุรกิจ ขออนุญาตินำมารวบรวมบันทึกไว้….
ผมเริ่มต้นจากคำถามง่ายๆ ว่า “เป็นเจ้าของกิจการมีเงินเด
ือน เดือนละเท่าไหร่? “เงียบ…แทนคำตอบ ก่อนที่จะถามกลับมาว่า ทำไมต้องมีเงินเดือน ในเมื่อเป็นเจ้าของอยู่แล้วผม
ถามคำถามที่สอง “แล้วเจ้าของใช้เงิน เดือนละเท่าไหร่?
“ลังเลนิดหนึ่ง ก่อนจะตอบว่า ไม่รู้ว่าเดือนละเท่าไหร่ เพราะจะใช้อะไรก็หยิบไปจากล
ิ้นชัก ไม่ได้จดไว้ว่าเท่าไหร่ อาศัยว่าถ้าเงินพอก็หยิบไปไ ด้ ถ้าไม่พอ ก็รอให้เงินพอก่อน แล้วค่อยหยิบผมถามคำถามที่สาม “เงินที่หยิบจากลิ้นชักไป เอาไปซื้ออะไรบ้าง”คราวนี้สาธยายยาวเหยียด…ก ็ซื้อทุกอย่าง กินข้าว ซื้อของเข้าบ้าน เลี้ยงสังสรรค์ ผ่อนรถ…ฯลฯ ผมสรุป…”นั่นแหละสาเหตุ”